ภาษีขาย จะเกิดขึ้นเมื่อมีการซื้อขายหรือเปิดบิลใบเสร็จแล้ว
ภาษีขายเป็นชื่อเรียกอย่างหนึ่งในระบบภาษีแท้จริงแล้วคือ เงินที่รัฐบาลจัดเก็บจากการซื้อของผู้บริโภค ในทางบัญชี ภาษีซื้อนั้นอาจไม่มีตัวตนอยู่ แต่เนื่องจากประเทศไทยมีกาจจัดเก็บภาษี ดังนั้น ภาษีซื้อในทางบัญชีจึงมีตัวตนเกิดขึ้น หากประเทศไหนไม่มีการจัดเก็บภาษี คำว่า ภาษีซื้อ!! อาจไม่มีตัวตัวอยู่หรือไม่จำเป็นต้องมีก็ได้
สำหรับคนทั่วๆ ไปคำว่า ภาษีขายที่เข้าใจง่ายๆ คือ “ภาษีขายเกิดจาก” การขายสินค้า 1 ชิ้น จำนวน 100 บาท แล้วมี ภาษีขายอยู่ในนั้น 7 บาท เท่ากับ สินค้าชิ้นนั้นมีมูลค่า 93 บาท
สำหรับผู้ประกอบการ พ่อค้า ผู้ทำธุรกิจ นักบัญชี หรือหน่วยงานกรมสรรพากร การขายสินค้าจำนวน 100 บาท อาจจะมีมูลค่า 93 บาท หรือ 107 ก็ขึ้นอยู่กับการต้นทุนของสินค้าชิ้นนั้น และที่ต้องเข้าใจเพิ่มเติมคือ “ภาษีขายเกิดจาก” นิติบุคคล หรือ บุคคล ที่อยู่ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม ขายสินค้าหรือให้บริการกับผู้ซื้อ ไม่ว่าผู้ซื้อนั้นจะอยู่ในระบบภาษีหรือไม่อยู่ในระบบภาษีก็ตาม!!
ใครที่ต้องอยู่ในระบบภาษีมูลค่า หลักๆ แล้ว คือ
1.นิติบุคคล หรือ บุคคล ที่มีรายได้หักเกิน 1,800,000 บาท และเป็นธุรกิจที่กฎหมายบังคับ
2.ผู้ที่ต้องการประกอบการค้ากับ ผู้ที่อยู่ในระบบภาษีมูลเพิ่มอยู่แล้ว หากรายได้ไม่ถึง 1,800,000 บาทก็สามารถเข้าระบบได้
เงินภาษีขายต้องรวบรวมแล้วนำส่งให้กรมสรรพากรทุกๆ โดยการรวบรวมตัวเลขลงในแบบ ภ.พ.30 ให้นำภาษีขาย หักกลบลบหนี้กับภาษีซื้อ หากมีภาษีซื้อ มากกว่า ภาษีขาย ไม่ต้องเสียภาษีแต่หากภาษีขายมากกว่าให้นำยอดที่เหลือไปคำนวนการเสียภาษีตามที่กฎหมายกำหนด
สรุปให้เข้าใจง่ายๆ
หากกิจการซื้อสินค้าหรือบริการ มากกว่า ขายสินค้าหรือให้บริการ บริษัทไม่เสียภาษีและสามารถขอคืนได้ตามกฎหมายกำหนด แต่ถ้าภาษีขายมากกว่าให้นำยอดที่เหลือไป คำนวณการเสียภาษี
รับทำบัญชี โทร.081-931-8341 (คุณจ๋า)